Blog ดนตรีบำบัด

ดนตรีบำบัดกับโรคซึมเศร้า

ดนตรีบำบัดกับโรคซึมเศร้า

ดนตรีบำบัดสามารถช่วยผู้ป่วยซึมเศร้าให้กลับมามีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นได้ การเล่นดนตรี การฟังเพลงนอกจากจะช่วยให้ผู้ป่วยหยุดความคิดฟุ้งซ่านในหัวได้แล้วยังช่วยสะท้อนให้ได้ยินตัวตนที่แท้จริงอีกด้วย

„ฟัง-เล่น“ กิจกรรมหลักของดนตรีบำบัด

„ฟัง-เล่น“ กิจกรรมหลักของดนตรีบำบัด

ในการทำดนตรีบำบัดนั้นเราแยกกิจกรรมหลักๆ ได้เป็นสองประเภทคือการฟัง (receptive) และการเล่น (active) ซึ่งกิจกรรมทั้งสองอย่างก็จะมีหลักการรายละเอียดปลีกย่อยแยกออกไปอีกเยอะพอสมควร

เป็นนักดนตรีบำบัดต้องรู้อะไรบ้าง

เป็นนักดนตรีบำบัดต้องรู้อะไรบ้าง

การจะเป็นนักดนตรีบำบัดไม่ใช่แค่การไปอบรมวันสองวันแล้วก็เรียกตัวเองว่านักดนตรีบำบัด หากแต่ต้องผ่านการเรียนรู้ฝึกฝนตามระบบเพื่อให้เป็นที่ยอมรับในการทำงาน

Improvisation ในดนตรีบำบัด

Improvisation ในดนตรีบำบัด

การทำ improvisation ในดนตรีบำบัดคืออะไร มีเป้าหมายอย่างไรในการทำ บทความนี้แปลมาจากหนังสือภาษาเยอรมัน Lexikon Musiktherapie

จากวันนั้นถึงวันนี้

จากวันนั้นถึงวันนี้

เส้นทางการเดินทางจากนักดนตรีธรรมดาๆ มาเป็นนักดนตรีบำบัดว่าต้องผ่านต้องเรียนอะไรมาบ้าง จะได้เป็นแรงบันดาลใจให้คนที่อยากเป็นมาสายนี้

„ดนตรีคู่บำบัด“ จากเสียงแห่งสุนทรีย์สู่ศาสตร์แห่งการรักษา

„ดนตรีคู่บำบัด“ จากเสียงแห่งสุนทรีย์สู่ศาสตร์แห่งการรักษา

จากเสียงมาเป็นศิลปะ จากศิลปะมาเป็ยนศาสตร์แห่งการบำบัดรักษา รู้จักกับดนตรีบำบัดเบื้องต้นถึงความหมาย กิจกรรมการเล่น ฟัง และบทบาทของนักดนตรีบำบัด